“วันพระ” เป็นหนึ่งในวันที่พุทธศาสนิกชนอย่างเราให้ความสำคัญกันเป็นอย่างมาก โดยเป็นวันที่เราจะเดินทางไประชุมกันฟังพระธรรมเทศนาจากพระสงฆ์ที่วัดนั่นเอง [พระสงฆ์จะไม่ออกมาบิณฑบาต] ดังนั้น เพื่อให้เราไม่คลาดการฟังธรรมในแต่ละเดือน มาดามมีปฏิทินมาฝากกัน รับรองว่าไม่พลาดอย่างแน่นอนค่ะ
มาดามจะขอเล่าสั้นๆ นะคะ ในสมัยพุทธกาล วันพระหรือวันธรรมสวนะ ยังไม่ได้รับการกำหนดอย่างเป็นทางการ เป็นเหตุให้พระเจ้าพิมพิสารจึงได้นำความเรื่องนี้ไปตรัสถามกับพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้มีวันที่พุทธศาสนิกชนได้รับฟังธรรมกัน ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ขึ้น 8 ค่ำ, 14 ค่ำ และ 15 ค่ำ จึงถูกกำหนดเป็นวันธรรมสวนะ
“มาดูกันค่ะว่ามีวันไหนกันบ้าง รับรองได้เลยว่าไม่พลาดการฟังธรรมอย่างแน่นอน”
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันพฤหัสบดีที่ 4 มกราคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีเถาะ |
วันพุธที่ 10 มกราคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีเถาะ |
วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนยี่(2) ปีเถาะ |
วันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนยี่(2) ปีเถาะ |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันศุกร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนยี่(2) ปีเถาะ |
วันพุธที่ 10 มกราคม 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนยี่(2) ปีเถาะ |
วันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสาม(3) ปีเถาะ |
[วันมาฆบูชา] วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนสาม(3) ปีเถาะ |
เดือนนี้เป็นเดือนที่มีความพิเศษตรงที่วันพระตรงกับมาฆบูชานั่นเอง ซึ่งเป็นวันที่มีความโดดเด่นตรงนี้ ในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าทรงโอวาทปาติโมกข์ท่ามกลางภิกษุสงฆ์ผู้ทรงอภิญญา 6 จำนวน 1,250 รูปโดยไม่ได้มีการนัดหมาย สำหรับกิจกรรมในวันนี้ก็จะมีตักบาตรในช่วงเช้า เวียนเทียนในช่วงเย็น บำเพ็ญกุศล ละเว้นบาป ปล่อยสัตว์
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนสาม(3) ปีเถาะ |
วันเสาร์ที่ 9 มีนาคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนสาม(3) ปีเถาะ |
วันอาทิตย์ที่ 17 มีนาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสี่(4) ปีเถาะ |
วันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนสี่(4) ปีเถาะ |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันจันทร์ที่ 1 เมษายน 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนสี่(4) ปีเถาะ |
วันจันทร์ที่ 8 เมษายน 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนสี่(4) ปีเถาะ |
วันอังคารที่ 16 เมษายน 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนห้า(5) ปีมะโรง |
วันอังคารที่ 23 เมษายน 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนห้า(5) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนห้า(5) ปีมะโรง |
วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนห้า(5) ปีมะโรง |
วันพุธที่ 15 พฤษภาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนหก(6) ปีมะโรง |
[วันวิสาขบูชา] วันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนหก(6) ปีมะโรง |
[วันอัฏฐมีบูชา] วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนหก(6) ปีมะโรง |
- วันสิขาบูชา = วันที่พระพุทธเจ้าประสูต ตรัสรู้ ปรินิพพาน กิจกรรมในวันนี้คือการบำเพ็ญประโยชน์และเวียนเทียนกันในตอนค่ำ
- วันอัฏฐมีบูชา = วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า กิจกรรมจะเหมือนกับวันวิสาขบูชา แต่ต่างกันตรงที่จะมีการเวียนเทียนในตอนค่ำ
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนหก(6) ปีมะโรง |
วันศุกร์ที่ 14 มิถุนายน 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนเจ็ด(ึ7) ปีมะโรง |
วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนเจ็ด(ึ7) ปีมะโรง |
วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนเจ็ด(ึ7) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนเจ็ด(ึ7) ปีมะโรง |
วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนแปด(8) ปีมะโรง |
[วันอาสาฬหบูชา] วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนแปด(8) ปีมะโรง |
[วันเข้าพรรษา] วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2567 | แรม 1 ค่ำ เดือนแปด(8) ปีมะโรง |
[วันเฉลิมฯ ร.10] วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนแปด(8) ปีมะโรง |
- วันอาสาฬหบูชา = วันที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา กิจกรรมเด่นๆ จะมีการเวียนเทียนในช่วงค่ำ
- วันเข้าพรรษา = พระสงฆ์จะงดออกจากวัด ปฏิบัติตามพระพุทธบัญญัติโดยการจำพรรษาเป็นระยะเวลา 3 เดือน ส่วนพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปจะงดเหล้า นอกจากนี้ยังนิยมไปวัด เพื่อทำบุญถวายทาน รักษาศีล ฟังธรรมและเจริญจิตภาวนา
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนแปด(8) ปีมะโรง |
วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนเก้า(9) ปีมะโรง |
วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนเก้า(9) ปีมะโรง |
วันอังคารที่ 27 สิงหาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนเก้า(9) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนเก้า(9) ปีมะโรง |
วันอังคารที่ 10 กันยายน 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ(1๐) ปีมะโรง |
วันอังคารที่ 17 กันยายน 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนสิบ(1๐) ปีมะโรง |
วันพุธที่ 25 กันยายน 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนสิบ(1๐) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันพุธที่ 2 ตุลาคม 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนสิบ(1๐) ปีมะโรง |
วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบเอ็ด(11) ปีมะโรง |
[วันออกพรรษา] วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนสิบเอ็ด(11) ปีมะโรง |
วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนสิบเอ็ด(11) ปีมะโรง |
วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนสิบเอ็ด(11) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบสอง(12) ปีมะโรง |
[วันลอยกระทง] วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนสิบสอง(12) ปีมะโรง |
วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนสิบสอง(12) ปีมะโรง |
วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567 | แรม 15 ค่ำ เดือนสิบสอง(12) ปีมะโรง |
วันที่สากล | วันที่แบบข้างขึ้น-ข้างแรม |
วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม 2567 | ขึ้น 8 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีมะโรง |
วันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม 2567 | ขึ้น 15 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีมะโรง |
วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2567 | แรม 8 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีมะโรง |
วันอาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม 2567 | แรม 14 ค่ำ เดือนอ้าย(1) ปีมะโรง |
นี่ก็คือ “ปฏิทินวันพระ” ที่มาดามรวบรวมมาให้แล้วอย่างครบครัน รับรองว่าไม่พลาดวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างแน่นอน สำหรับใครที่อยากไปช้อปปิ้งกันต่อ สามารถไปช้อปกันได้เลยที่ Central Online แหล่งรวมสินค้าจากแบรนด์ชั้นนำ ที่มีให้คุณเลือกช้อปอย่างหลากหลาย